เกณฑ์ที่ใช้ประเมินระดับคะแนนของ Indicators

เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินระดับคะแนนของ Indicators

รายละเอียดของเกณฑ์ในการประเมินระดับคะแนนในแต่ละ Indicators ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ เกณฑ์ประเมินระดับคะแนนโดยทั่วไป (General Creiteria) และเกณฑ์การให้คะแนนอ้างอิง โครงการ ฉลาก การรับรอง หรือ มาตรฐานระดับสากล โดยมีระดับคะแนนตั้งแต่ 1-5 ( 5 rubrics score) 

เกณฑ์การให้คะแนน Indicators
สำหรับอาคาร
เกณฑ์การให้คะแนน Indicators สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม
เกณฑ์การให้คะแนน Indicatorsสำหรับโรงไฟฟ้าขนาดเล็กมาก
การกำหนดน้ำหนักหรือระดับความสำคัญของ Aspect และ Indicator ที่เกี่ยวข้องสำหรับอาคาร
การกำหนดน้ำหนักหรือระดับความสำคัญของ Aspect และ Indicatorที่เกี่ยวข้องสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม
การกำหนดน้ำหนักหรือระดับความสำคัญของ Aspect และ Indicator ที่เกี่ยวข้องสำหรับโรงไฟฟ้าขนาดเล็กมาก
เกณฑ์การให้คะแนน Indicators สำหรับอาคาร

ลำดับAspectsIndicatorsเกณฑ์การประเมินระดับคะแนนทั่วไปเกณฑ์การให้คะแนนอ้างอิง โครงการฉลาก การรับรอง หรือ มาตรฐานระดับคะแนน
1.Leadership1.Commitments and Policyมีการประกาศนโยบายด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร1
มีการประกาศนโยบายด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร
โดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร
2
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชน3
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชนและมีแผนงานเพื่อตอบสนองต่อนโยบายและความมุ่งมั่นดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม และมีการนำไปสู่การดำเนินการแล้วบางส่วนขององค์กร4
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชน
และมีแผนงานเพื่อตอบสนองต่อนโยบายและความมุ่งมั่นดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม และมีการนำไปสู่การดำเนินการแล้วทั่วทั้งองค์กร
5
2.Organizing and Business Integrationมีการมอบหมายให้บุคคลใดบุคลหนึ่งรับผิดชอบด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร1
มีการมอบหมายให้ผู้บริหารระดับกลาง (ผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป) ในองค์กรรับผิดชอบด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ
การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร
2
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร3
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร โดยคณะทำงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กร หรือเป็นหน่วยงานที่มีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กร4
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยคณะทำงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กรหรือเป็นหน่วยงานที่มีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กรและมีการมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการสนับสนุนด้านการ
จัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมแก่ผู้บริหารทุกหน่วยงาน
5
3.Strategic Planมีแผนกลยุทธ์หรือแผนปฏิบัติงานด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่งที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะสั้นไม่เกิน1 ปี1
มีแผนกลยุทธ์หรือแผนปฏิบัติงานด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี2
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่งที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะปานกลางไม่เกิน 3 ปี
พร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี
3
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะปานกลางไม่เกิน 3 ปีพร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี4
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะยาวหรือที่มีความต่อเนื่องมากกว่า 3 ปี
พร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี
5
4.CCR (Corporate Community
Responsibility)
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 50 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 1 กิจกรรมต่อปีด้านสุขภาพ และสุขภาวะ/ ด้านอาชีพ/ด้านการเกษตร/ ด้านคุณภาพชีวิต/ด้านการศึกษา ศาสนา/ด้านการพัฒนาชุมชนและองค์กรชุมชน/ด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมในชุมชน / ด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน/ด้านการส่งเสริมพลังงานทดแทน/ด้านการช่วยเหลือชาวชุมชนที่ทุกข์ยากเดือดร้อน1
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 50 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรมต่อปี2
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรมต่อปี3
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรมต่อปีCSR-DPIM, CSR-DIW
(รางวัลด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม) ในช่วงเวลาเกิน 2 ปี
4
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 4 กิจกรรมต่อปีISO 26000 (social responsibility)5
5.Allianceสถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่าย (ชมรม สมาคม หรือ อื่น ๆ ที่มีการรวมกลุ่มกัน) อย่างหนึ่งอย่างใด1
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงาน หรือ ด้านสิ่งแวดล้อมหรือด้านสังคม2
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงาน หรือ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคมและ/หรือผู้บริหาร(ระดับผู้จัดการขึ้นไป)ของสถานประกอบการเป็นกรรมการหรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารของเครือข่าย3
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงาน หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคมและ/หรือผู้บริหาร(ระดับผู้จัดการขึ้นไป)ของสถานประกอบการเป็นกรรมการหรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารของเครือข่าย
และสถานประกอบการเป็นผู้สนับสนุนหลักของเครือข่าย
4
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงาน หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคมและ/หรือผู้บริหารสูงสุดของสถานประกอบการเป็นสมาชิกหรือเป็กรรมการและสถานประกอบการเป็นผู้สนับสนุนหลักของเครือข่าย5
2.#rowspan#Energy Performance Issue6.Energy
Management
system
มีการริเริ่มกระบวนการในการจัดการพลังงานแล้วโดยมีการประกาศนโยบายด้านพลังงานโดยผู้บริหารสูงสุด1
มีกระบวนการในการจัดการพลังงานแล้วโดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ข้อ
ดังนี้ 1) นโยบายด้านพลังงาน 2)การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน
3)แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน
2
มีกระบวนการในการจัดการพลังงาน โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 5 ข้อ ดังนี้
1) นโยบายด้านพลังงาน
2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน
3) การวางแผนและการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน
4) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน
5) การเฝ้าระวังสมรรถนะพลังงานในองค์กร
3
มีกระบวนการในการจัดการพลังงาน โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้
1) นโยบายด้านพลังงาน
2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน
3) การวางแผนและการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน
4) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน
5) การควบคุมการปฏิบัติงานด้านพลังงาน
6) การเฝ้าระวังสมรรถนะพลังงานในองค์กร
7) การตรวจประเมินภายใน
8) การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ได้รับการตรวจรับรองระบบการจัดการพลังงานตาม พรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2550) หรือ เทียบเท่า เช่น Prime Minister Award
ด้านการจัดการพลังงาน, Thailand Energy Awards ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา
เป็นต้น
4
ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลระบบการจัดการพลังงาน ISO 500015
7.Building Envelope performanceอาคารมีพื้นที่กระจกมากกว่าร้อยละ 20 ของพื้นที่กรอบอาคารโดยมีค่าการถ่ายเทความร้อนมากกว่าเกณฑ์ของ BEC ไม่เกิน 30%1
อาคารมีพื้นที่กระจกมากกว่าร้อยละ 20 ของพื้นที่กรอบอาคารโดยมีค่าการถ่ายเทความร้อนมากกว่าเกณฑ์ของ BEC ไม่เกิน 20%2
อาคารมีพื้นที่กระจกน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 20 ของพื้นที่กรอบอาคารหรืออาคารมีพื้นที่กระจกมากกว่าร้อยละ 20
ของพื้นที่กรอบอาคารและมีอุปกรณ์บังแดดโดยมีความร้อนมากกว่าเกณฑ์ของ BEC ไม่เกิน 10%
BEC3
อาคารมีพื้นที่กระจกน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 20 ของพื้นที่กรอบอาคารหรืออาคารมีพื้นที่กระจกมากกว่าร้อยละ 20 ของพื้นที่กรอบอาคารและมีอุปกรณ์บังแดดโดยมีความร้อนตามเกณฑ์ของ BEC และ/หรืออาคารได้รับรองมาตรฐานอาคารเขียวระดับ GoldLEED, BREEM, DGNB / Gold4
อาคารมีพื้นที่กระจกมากกว่าร้อยละ 20 ของพื้นที่กรอบอาคารและมีอุปกรณ์บังแดด ค่าการถ่ายเทความร้อนดีกว่าเกณฑ์ของ BEC ไม่น้อยกว่า
10% ขึ้นไป และ/หรือ อาคารได้รับรองมาตรฐานอาคารเขียวระดับ Platinum
LEED, BREEM, DGNB / Platinum5
8.Continuous Performance
Improvement
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 0.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)1
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 1.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2
ปีที่ผ่านมา)
3
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 2% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)4
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)5
9.Internal Economic Impactsสามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 0.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)1
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 1.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)3
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 2% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)4
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 3% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)5
3.Environmental Issue10.Environment Management
System
มีการริเริ่มกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อมแล้วโดยมีการประกาศนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมโดยผู้บริหารสูงสุด1
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อมแล้วโดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ข้อ
ดังนี้ 1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
2)การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม
3)แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม
2
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 5 ข้อ
ดังนี้ 1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
3) การวางแผนและการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม
4) แผนปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม
5) การเฝ้าระวังสมรรถนะด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร
3
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 8 ด้าน
ดังนี้
1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
3) การวางแผนและการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม
4) แผนปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม
5) การควบคุมการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม
6) การเฝ้าระวังสมรรถนะสิ่งแวดล้อมในองค์กร
7) การตรวจประเมินภายใน
8) การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
EMS DIW (การรับรองการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม) ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปี ที่ผ่านมา4
ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลด้านการสิ่งแวดล้อม ISO 140015
11.Waste managementมีการดำเนินการบ่งชี้และจัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กร เช่น ขยะมูลฝอย น้ำเสีย มลพิษทางอากาศ จากดำเนินการของอาคาร1
มีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสีย เช่น ขยะมูลฝอย น้ำเสียมลพิษทางอากาศ จากการดำเนินการของอาคารและดำเนินการเพื่อลดปริมาณของเสียอย่างหนึ่งอย่างใดลงอย่างต่อเนื่องไม่น้อย
กว่าปีละ 0.5 % เฉลี่ยของปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
2
มีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสีย เช่น ขยะมูลฝอย น้ำเสียมลพิษทางอากาศ จากการดำเนินการของอาคารและดำเนินการเพื่อลดปริมาณของเสียอย่างหนึ่งอย่างใดลงอย่างต่อเนื่องไม่น้อย
กว่าปีละ1.0 % เฉลี่ยของปีฐาน
3
มีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสีย เช่น ขยะมูลฝอย น้ำเสียมลพิษทางอากาศ จากการดำเนินการของอาคารและดำเนินการเพื่อลดปริมาณของเสียอย่างหนึ่งอย่างใดลงอย่างต่อเนื่องไม่น้อย
กว่าปีละ1.5 % เฉลี่ยของปีฐาน
4
มีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสีย เช่น ขยะมูลฝอย น้ำเสียมลพิษทางอากาศ จากการดำเนินการของอาคารและดำเนินการเพื่อลดปริมาณของเสียอย่างหนึ่งอย่างใดลงอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่าปีละ 2 % เฉลี่ยของปีฐานEarthCheck/UI Green Metric5
12.Fresh Water Managementมีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
และมีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ
1
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรืออุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 หรือสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่าปี 0.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
2
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณและ/หรือ
อุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 หรือ
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่าปี 1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
การลดลงของปริมาณการใช้น้ำกรณีของการเพิ่มกระบวนการผลิต/
ประสิทธิภาพการใช้น้ำ
3
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรืออุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 หรือสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่าปี 1.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
4
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรืออุปกรณ์ทั้งหมดเป็นแบบประหยัดน้ำ หรือ
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่าปี
1.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
Water footprint/
EarthCheck/UI Green
Metric
5
13.GHG Emission Impactสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 1 % เฉลี่ยต่อปี ของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)1
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 2 % เฉลี่ยต่อปีของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 3 % เฉลี่ยต่อปีของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Footprint for Organization / Carbon Footprint for
Product / Carbon Footprint event จาก
อบก. หรือ ได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกัน
จากองค์กรนานาชาติ
3
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 4 % เฉลี่ยต่อปีของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Offset จาก อบก.หรือได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกันจากองค์กรนานาชาติ4
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG มากกว่า 4 % เฉลี่ยต่อปีของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Neutral / T-VER
จาก อบก. หรือได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกันจากองค์กรนานาชาติ
5
4.Innovation14.Process or Product
Innovation (Industry)
ไม่มีเกณฑ์การประเมินสำหรับอาคาร
15.Energy and Environment Innovation and
Technology
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ในการดำเนินการ
ด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ Motion sensor, Photo Switch หรือ Timer ในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์เพียงบางส่วนและเป็นอุปกรณ์ที่ไม่มีนัยสำคัญ
1
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ในการดำเนินการ
ด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ Motion sensor, Photo Switch หรือ Timer ในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์หลักที่มีนัยสำคัญ
2
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับปานกลางในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้ง ระบบควบคุมอัตโนมัติในบางกิจกรรมขององค์กรแต่เป็นกิจกรรมที่มีนัยสำคัญและเกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เช่น
การติดตั้งระบบ Smart Chiller plant manager
ในการจัดการการใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์ เป็นต้น
3
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับสูงในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้ง BEMS หรือ IOT สำหรับการควบคุมระบบอัตโนมัติในบางกิจกรรมขององค์กร
ที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
4
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับสูงในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้ง BEMS หรือ IOT สำหรับการควบคุมระบบอัตโนมัติครอบคลุมทุกกิจกรรมขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม5
16.Role modelมีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ในอาคารประเภทเดียวกันอย่างน้อย 1 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา1
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ได้ในอาคารประเภทเดียวกันและอาคารประเภทอื่น ๆ ได้อย่างน้อย 1 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา2
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ได้ในอาคารประเภทเดียวกันได้อย่างน้อย 2 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา3
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ได้ในอาคารประเภทเดียวกันและอาคารประเภทอื่น ๆ ได้อย่างน้อย 2 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา4
เป็นอาคารต้นแบบที่สามารถให้หน่วยงานภายนอกเข้าเยี่ยมชมและมีการนำเสนอนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม5
5.Circular Economy17. In-Processมีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process,
Reuse or Recycle) มาประยุกต์ใช้ในบางกิจกรรมของกระบวนการบริการ
หรือด้านการใช้พลังงาน หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่ยังไม่เป็นกระบวนการหลักขององค์กร
1
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process,
Reuse or Recycle) มาประยุกต์เพียงบางกิจกรรมกระบวนการบริการหรือด้านการใช้พลังงาน หรือด้านสิ่งแวดล้อม
ที่เป็นกระบวนการหลักขององค์กร
2
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process,
Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 1 ขั้นตอนของกระบวนการบริการ
หรือการใช้พลังงานที่เป็นกระบวนการหลักขององค์กร
3
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 2 ขั้นตอนของกระบวนการบริการ
หรือการใช้พลังงานที่เป็นกระบวนการหลักขององค์กร
4
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process,
Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 2 ขั้นตอนของกระบวนการบริการ
หรือการใช้พลังงานที่เป็นกระบวนการหลักขององค์กรและมีโครงงานที่เกิดจากกระบวนการ Upcycling เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
5
18. Collaboration and Supply Chainไม่มีเกณฑ์การประเมินสำหรับอาคาร
6.Green and Renewable
Energy
19.Green and Renewable
Energy Source
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนไม่เกินร้อยละ 5 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้งหรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงานหรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง1
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนไม่เกินร้อยละ 10 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้งหรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิพลังงาน
หรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง
2
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนไม่เกินร้อยละ 20 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้งหรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงานหรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง3
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนไม่เกินร้อยละ 40 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้งหรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงานหรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง4
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนเกินกว่าร้อยละ 50 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้งหรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงานหรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง5
20.Green and Renewable
Energy Efficiency
ไม่มีเกณฑ์การประเมินสำหรับอาคาร
7.Sustainability Culture21.Personal Awarenessบุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนไม่เกินร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด1
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด2
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 30
ของพนักงานทั้งหมด
3
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 50 ของพนักงานทั้งหมด4
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 80
ของพนักงานทั้งหมด
5
22.Corporate Awarenessองค์กรมีการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง1
องค์กรมีการจัดกิจกรรม
และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
2
องค์กรมีการจัดกิจกรรม
และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง
3
องค์กรมีการจัดกิจกรรม
และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมหรือความยั่งยืนอย่างน้อยทุก 3เดือนและมีการประเมินผลด้านความตระหนักของพนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
4
องค์กรมีการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
และมีการประเมินผลด้านความตระหนักของพนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
5
23.Green Transportationการจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด1
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 20 ของพนักงานทั้งหมด2
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียงหรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 30 ของพนักงานทั้งหมด3
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานทั้งหมด4
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียงหรือมีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 50 ของพนักงานทั้งหมดและมีการติดตั้ง EV Charger
ในสถานประกอบการอย่างน้อย 1 เครื่อง
5
24.Green Procurementมีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement
เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงาน และ/หรือในการบริการรวมกันไม่เกิน 3
รายการ
1
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการบริการรวมกันไม่เกิน 5
รายการ
2
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการบริการรวมกันไม่น้อยกว่า
8 รายการ และมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานที่ได้รับมาตรฐาน รางวัล หรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม
3
เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการบริการรวมกันไม่น้อยกว่า 8 รายการ และมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานหรือการบริการที่ได้รับมาตรฐานรางวัล หรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม
โดยมีสัดส่วนของการจัดจ้างดังกล่าวมากกว่าร้อยละ 10 และมีนโยบายการจัดซื้อเครื่องจักรที่มีสมรรถนะพลังงานสูงหรือเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
4
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการบริการรวมกันไม่น้อยกว่า
8 รายการ และมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานหรือการบริการที่ได้รับมาตรฐาน
รางวัลหรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยมีสัดส่วนของการจัดจ้างดัง
กล่าวมากกว่าร้อยละ 30
และมีนโยบายการจัดซื้อเครื่องจักรที่มีสมรรถนะพลังงานสูงหรือเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
Green office5
25.Health and Safetyมีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมาย1
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานอย่างน้อย 1 โครงการ2
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานอย่างน้อย 1
โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 180 วัน
3
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานมากกว่า 1
โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 270 วัน
4
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานมากกว่า 1
โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 360 วัน
ได้รับการรับรองการจัดการมาตรฐานสากลด้านความปลอดภัยและชีวอนามัย ISO 450015

เกณฑ์การให้คะแนน Indicators สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม

ลำดับAspectsIndicatorsเกณฑ์การประเมินระดับคะแนนทั่วไปเกณฑ์การให้คะแนนอ้างอิง โครงการ ฉลาก การรับรอง หรือ มาตรฐานระดับคะแนน
1Leadership1. Commitments and Policyมีการประกาศนโยบายด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร1
มีการประกาศนโยบายด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร โดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร2
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชน3
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชน และมีแผนงานเพื่อตอบสนองต่อนโยบายและความมุ่งมั่นดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม และมีการนำไปสู่การดำเนินการแล้วบางส่วนขององค์กร4
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชน และมีแผนงานเพื่อตอบสนองต่อนโยบายและความมุ่งมั่นดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม และมีการนำไปสู่การดำเนินการแล้วทั่วทั้งองค์กร5
2. Organizing and Business Integrationมีการมอบหมายให้บุคคลใดบุคลหนึ่งรับผิดชอบด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร1
มีการมอบหมายให้ผู้บริหารระดับกลาง (ผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป) ในองค์กรรับผิดชอบด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร2
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร 3
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร โดยคณะทำงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กร หรือเป็นหน่วยงานที่มีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กร4
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร โดยคณะทำงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กร หรือเป็นหน่วยงานที่มีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กร และมีการมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการสนับสนุนด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมแก่ผู้บริหารทุกหน่วยงาน5
3. Strategic Planมีแผนกลยุทธ์หรือแผนปฏิบัติงานด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่งที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี1
มีแผนกลยุทธ์หรือแผนปฏิบัติงานด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี2
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่งที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะปานกลางไม่เกิน 3 ปี พร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี 3
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะปานกลางไม่เกิน 3 ปี พร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี4
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะยาวหรือที่มีความต่อเนื่องมากกว่า 3 ปี พร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี5
4. CCR (Corporate Community Responsibility)การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 50 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 1 กิจกรรมต่อปี ด้านสุขภาพ และสุขภาวะ/ ด้านอาชีพ/ ด้านการเกษตร/ ด้านคุณภาพชีวิต/ ด้านการศึกษา ศาสนา/ ด้านการพัฒนาชุมชนและองค์กรชุมชน/ ด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมในชุมชน/ ด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน/ ด้านการส่งเสริมพลังงานทดแทน/ ด้านการช่วยเหลือชาวชุมชนที่ทุกข์ยากเดือดร้อน1
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 50 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรมต่อปี2
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรมต่อปี3
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรมต่อปีCSR-DPIM, CSR-DIW (รางวัลด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม) ในช่วงเวลาเกิน 2 ปี4
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 4 กิจกรรมต่อปีISO 26000 (social responsibility)5
5. Allianceสถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่าย (ชมรม สมาคม หรือ อื่น ๆ ที่มีการรวมกลุ่มกัน) อย่างหนึ่งอย่างใด1
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงาน หรือ ด้านสิ่งแวดล้อมหรือด้านสังคม 2
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงาน หรือ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคม และ/หรือผู้บริหาร (ระดับผู้จัดการขึ้นไป) ของสถานประกอบการเป็นกรรมการ หรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารของเครือข่าย3
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงาน หรือ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคม และ/หรือผู้บริหาร(ระดับผู้จัดการขึ้นไป)ของสถานประกอบการเป็นกรรมการหรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารของเครือข่าย และสถานประกอบการเป็นผู้สนับสนุนหลักของเครือข่าย4
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงาน หรือ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคม และ/หรือผู้บริหารสูงสุดของสถานประกอบการเป็นสมาชิกหรือเป็นกรรมการและสถานประกอบการเป็นผู้สนับสนุนหลักของเครือข่าย5
2Energy Performance Issue6. Energy Management systemมีการริเริ่มกระบวนการในการจัดการพลังงานแล้วโดยมีการประกาศนโยบายด้านพลังงานโดยผู้บริหารสูงสุด1
มีกระบวนการในการจัดการพลังงานแล้วโดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 2
3 ข้อ ดังนี้ 1) นโยบายด้านพลังงาน 2) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน 3) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน
มีกระบวนการในการจัดการพลังงาน โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย3
5 ข้อ ดังนี้ 1) นโยบายด้านพลังงาน 2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน 3) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน 4) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน 5) การเฝ้าระวังสมรรถนะพลังงานในองค์กร
มีกระบวนการในการจัดการพลังงาน โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้ 1) นโยบายด้านพลังงาน 2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน 3) การวางแผนและการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน 4) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน 5) การควบคุมการปฏิบัติงานด้านพลังงาน 6) การเฝ้าระวังสมรรถนะพลังงานในองค์กร 7) การตรวจประเมินภายใน 8) การทบทวนโดยฝ่ายบริหารได้รับการตรวจรับรองระบบการจัดการพลังงานตาม พรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2550) หรือ เทียบเท่า เช่น Prime Minister Award ด้านการจัดการพลังงาน, Thailand Energy Awards ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา เป็นต้น4
ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลระบบการจัดการพลังงาน ISO 500015
7. Building Envelope performance ไม่มีเกณฑ์การประเมินสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม0
8. Continuous Performance Improvementสามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 0.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)1
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 1.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)3
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 2% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)4
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)5
9. Internal Economic Impactsสามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 0.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)1
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 1.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)3
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 2% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)4
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 3% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)5
3Environmental Issue10. Environment Management System มีการริเริ่มกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อมแล้วโดยมีการประกาศนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมโดยผู้บริหารสูงสุด1
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อม แล้วโดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ข้อ ดังนี้ 1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม 2) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม 3) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม2
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 5 ข้อ ดังนี้ 1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม 2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม 3) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม 4) แผนปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม 5) การเฝ้าระวังสมรรถนะด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร3
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้ 1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม 2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม 3) การวางแผนและการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม 4) แผนปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม 5) การควบคุมการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม 6) การเฝ้าระวังสมรรถนะสิ่งแวดล้อมในองค์กร 7) การตรวจประเมินภายใน 8) การทบทวนโดยฝ่ายบริหารEMS DIW (การรับรองการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม) ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปี ที่ผ่านมา4
ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลด้านการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 5
11. Waste managementมีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กร 1
มีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กรและดำเนินการลดปริมาณของเสียอย่างใดอย่างหนึ่งลงต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 0.5 % เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
มีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กรและดำเนินการลดปริมาณของเสียของเสียอย่างใดอย่างหนึ่งลงต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1.0 % เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)3
มีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กรและดำเนินการลดปริมาณของเสียของเสียอย่างใดอย่างหนึ่งลงต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1.5 % เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)4
มีการดำเนินการบ่งชี้ จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กรและดำเนินการลดปริมาณของเสียของเสียอย่างใดอย่างหนึ่งลงต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 2 % เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)การได้การรับรองเกี่ยวกับการจัดการของเสียจากกระบวนการผลิตในระดับนานาชาติ เช่น GRS ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปี ที่ผ่านมา5
12. Fresh Water Managementมีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ และมีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ 1
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรือ อุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 หรือ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่าปี 0.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรือ อุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 หรือ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่าปี 1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)3
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรือ อุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 หรือ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่าปี 1.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)4
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรือ อุปกรณ์ทั้งหมดเป็นแบบประหยัดน้ำ หรือ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่าปี 1.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)การได้การรับรอง Water footprint ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปี ที่ผ่านมา5
13. GHG Emission Impactสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 1 % เฉลี่ยต่อปี ของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)1
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 2 % เฉลี่ยต่อปี ของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 3 % เฉลี่ยต่อปี ของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Footprint for Organization / Carbon Footprint for Product / Carbon Footprint event จาก อบก. หรือ ได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกัน จากองค์กรนานาชาติ3
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 4 % เฉลี่ยต่อปี ของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Offset จาก อบก. หรือได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกัน จากองค์กรนานาชาติ4
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG มากกว่า 4 % เฉลี่ยต่อปี ของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Neutral / T-VER จาก อบก. หรือได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกัน จากองค์กรนานาชาติ5
4Innovation14. Process or Product Innovation (Industry)มีกระบวนการในการจัดการองค์ความรู้ภายในองค์กรเฉพาะบางหน่วยงาน1
มีกระบวนการในการจัดการองค์ความรู้ภายในองค์กรเฉพาะบางหน่วยงานและมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านนวัตกรรมภายในองค์กร2
มีกระบวนการในการจัดการองค์ความรู้ภายในองค์กรทุกหน่วยงาน และมีกิจกรรมส่งเสริมด้านนวัตกรรมภายในองค์กร3
มีกระบวนการในการจัดการองค์ความรู้ภายในองค์กรทุกหน่วยงาน และมีกิจกรรมส่งเสริมด้านนวัตกรรมทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กร4
มีกระบวนการในการจัดการองค์ความรู้ภายในองค์กรทุกหน่วยงาน และมีกิจกรรมส่งเสริมด้านนวัตกรรมทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กร และมีนวัตกรรมที่สามารถนำไปดำเนินได้ในเชิงพาณิชย์5
15. Energy and Environment Innovation and Technologyมีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ในการดำเนินการ1
ด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ Motion sensor, Photo Switch หรือ Timer ในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์เพียงบางส่วนและเป็นอุปกรณ์ที่ไม่มีนัยสำคัญ
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ในการดำเนินการ2
ด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ Motion sensor, Photo Switch หรือ Timer ในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์หลักที่มีนัยสำคัญ
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับปานกลาง ในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้ง ระบบควบคุมอัตโนมัติในบางกิจกรรมขององค์กร แต่เป็นกิจกรรมที่มีนัยสำคัญและเกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้งระบบ Smart Chiller plant manager ในการจัดการการใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์ เป็นต้น3
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับสูง ในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้ง, SCADA หรือ IOT สำหรับการควบคุมระบบอัตโนมัติในบางกิจกรรมขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม4
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับสูง ในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้ง, SCADA หรือ IOT สำหรับการควบคุมระบบอัตโนมัติครอบคลุมทุกกิจกรรมขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม5
16. Role modelมีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเดียวกันอย่างน้อย 1 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา1
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกอุตสาหกรรมอย่างน้อย 1 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา2
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเดียวกันอย่างน้อย 2 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา3
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกอุตสาหกรรมกันอย่างน้อยปีละ 2 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา4
เป็นองค์กรต้นแบบให้หน่วยงานภายนอกเข้าเยี่ยมชมสถานประกอบการ และมีการนำเสนอนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวดล้อม5
5Circular Economy17. In-Process มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ใช้ในบางกิจกรรมของกระบวนการบริการ หรือด้านการใช้พลังงาน หรือด้านสิ่งแวดล้อม แต่ไม่ได้เป็นผลิตภัณฑ์หลักขององค์กร1
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ใช้ในบางกิจกรรมของกระบวนการบริการ หรือด้านการใช้พลังงาน หรือด้านสิ่งแวดล้อม ที่เป็นผลิตภัณฑ์หลักขององค์กร2
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 1 ขั้นตอน ที่เป็นผลิตภัณฑ์หลักขององค์กร3
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 2 ขั้นตอนที่เป็นผลิตภัณฑ์หลักขององค์กร4
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 2 ขั้นตอน ที่เป็นผลิตภัณฑ์หลักขององค์กร และมีผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากกระบวนการ Upcycling เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม5
18. Collaboration and Supply Chain มีนโยบายหรือข้อกำหนดที่เป็นลายลักษณ์อักษรในการพัฒนาร่วมกันของ Supply chain ที่เกี่ยวข้องกับ Circular Economy1
มีนโยบายหรือข้อกำหนดที่เป็นลายลักษณ์อักษรในการพัฒนาร่วมกันของ Supply chain ที่เกี่ยวข้องกับ Circular Economy และมีการดำเนินการกิจกรรมร่วมกันแล้วอย่างน้อย 1 โครงการในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา2
มีนโยบายหรือข้อกำหนดที่เป็นลายลักษณ์อักษรในการพัฒนาร่วมกันของ Supply chain ที่เกี่ยวข้องกับ Circular Economy และมีการดำเนินการกิจกรรมร่วมกันแล้วมากกว่า 1 โครงการในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา 3
มีนโยบายหรือข้อกำหนดที่เป็นลายลักษณ์อักษรในการพัฒนาร่วมกันของ Supply chain ที่เกี่ยวข้องกับ Circular Economy และมีการดำเนินการกิจกรรมร่วมกันแล้วมากกว่า 1 โครงการ และมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกอีกอย่างน้อย 1 โครงการในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา4
มีนโยบายหรือข้อกำหนดที่เป็นลายลักษณ์อักษรในการพัฒนาร่วมกันของ Supply chain ที่เกี่ยวข้องกับ Circular Economy และมีการดำเนินการกิจกรรมร่วมกันแล้วมากกว่า 1 โครงการ และมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกมากกว่า 1 โครงการในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา5
6Green and Renewable Energy19. Green and Renewable Energy Sourceสัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนไม่เกินร้อยละ 5 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้ง หรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงาน หรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง 1
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนไม่เกินร้อยละ 10 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้ง หรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงาน หรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง 2
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนไม่เกินร้อยละ 20 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้ง หรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงาน หรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง 3
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนไม่เกินร้อยละ 40 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้ง หรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงาน หรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง 4
สัดส่วนของกำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียนเกินกว่าร้อยละ 50 ของศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะสมในการติดตั้ง หรือศักยภาพและความเหมาะสมด้านขนาดของการผลิตพลังงาน หรือความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างใดอย่างหนึ่ง 5
20. Green and Renewable Energy Efficiencyไม่มีเกณฑ์การประเมินสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม
7Sustainability Culture21. Personal Awarenessบุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนไม่เกินร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด1
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด2
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 30 ของพนักงานทั้งหมด3
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 50 ของพนักงานทั้งหมด4
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 80 ของพนักงานทั้งหมด5
22. Corporate Awarenessองค์กรมีการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง1
องค์กรมีการจัดกิจกรรม และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง2
องค์กรมีการจัดกิจกรรม และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง3
องค์กรมีการจัดกิจกรรม และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมหรือความยั่งยืนอย่างน้อยทุก 3เดือน และมีการประเมินผลด้านความตระหนักของพนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง4
องค์กรมีการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา และมีการประเมินผลด้านความตระหนักของพนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง5
23. Green Transportationการจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยาน มีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด หรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงาน1
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยาน มีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 20 ของพนักงานทั้งหมด หรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงาน โดยมีการลดลงของค่าเชิงปริมาณด้านสมรรถนะพลังงานของการขนส่งดังกล่าวไม่น้อยกว่า 1% เมื่อเทียบกับปีฐาน 2
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยาน มีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 30 ของพนักงานทั้งหมด หรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงาน โดยมีการลดลงของค่าเชิงปริมาณด้านสมรรถนะพลังงานของการขนส่งดังกล่าวไม่น้อยกว่า 2% เมื่อเทียบกับปีฐาน3
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยาน มีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานทั้งหมด หรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงาน โดยมีการลดลงของค่าเชิงปริมาณด้านสมรรถนะพลังงานของการขนส่งดังกล่าวไม่น้อยกว่า 3% เมื่อเทียบกับปีฐาน4
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือ จัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 50 ของพนักงานทั้งหมด หรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงาน โดยมีการลดลงของค่าเชิงปริมาณด้านสมรรถนะพลังงานของการขนส่งดังกล่าวไม่น้อยกว่า 4% เมื่อเทียบกับปีฐาน และมีการติดตั้ง EV Charger ในสถานประกอบการอย่างน้อย 1 เครื่อง5
24. Green Procurementมีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procurement เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงาน และ/หรือในการผลิตและบริการรวมกันไม่เกิน 3 รายการ1
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procurement เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตและบริการรวมกันไม่เกิน 5 รายการ?-2
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procurement เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตและบริการรวมกันไม่น้อยกว่า 8 รายการ และมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานที่ได้รับมาตรฐาน รางวัล หรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม3
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตและบริการรวมกันมากกว่า 10 รายการ และมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานหรือการบริการที่ได้รับมาตรฐาน รางวัล หรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยมีสัดส่วนของการจัดจ้างดังกล่าวมากกว่าร้อยละ 10 และมีนโยบายการจัดซื้อเครื่องจักรที่มีสมรรถนะพลังงานสูงหรือเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม4
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procurement เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตและบริการรวมกันมากกว่า 10 รายการ และมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานหรือการบริการที่ได้รับมาตรฐาน รางวัล หรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยมีสัดส่วนของการจัดจ้างดังกล่าวมากกว่าร้อยละ 30 และมีนโยบายการจัดซื้อเครื่องจักรที่มีสมรรถนะพลังงานสูงหรือเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม5
25. Health and Safetyมีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมาย1
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานอย่างน้อย 1 โครงการ2
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานอย่างน้อย 1 โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 180 วัน3
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานมากกว่า 4
1 โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 270 วัน
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านอาชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานมากกว่า ได้รับการรับรองการจัดการมาตรฐานสากลด้านความปลอดภัยและชีวอนามัย ISO 45001 5
1 โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 360 วัน

เกณฑ์การให้คะแนน Indicators โรงไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) ประเภทโรงไฟฟ้าความร้อนร่วม

ลำดับAspectsIndicatorsเกณฑ์การประเมินระดับคะแนนทั่วไปเกณฑ์การให้คะแนนอ้างอิง โครงการ ฉลาก การรับรอง หรือ มาตรฐานระดับคะแนน
1.Leadership1. Commitments and Policyมีการประกาศนโยบายด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่ง
เป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร
1
มีการประกาศนโยบายด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อัก
ษร โดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร
2
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชน3
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชนและมีแผนงานเพื่อตอบสนองต่อนโยบายและความมุ่งมั่นดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม และมีการนำไปสู่การดำเนินการแล้วบางส่วนขององค์กร4
มีการประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนหรือด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กรและมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชนและมีแผนงานเพื่อตอบสนองต่อนโยบายและความมุ่งมั่นดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม และมีการนำไปสู่การดำเนินการแล้วทั่วทั้งองค์กร5
2. Organizing and Business Integrationมีการมอบหมายให้บุคคลใดบุคลหนึ่งรับผิดชอบด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร1
มีการมอบหมายให้ผู้บริหารระดับกลาง (ผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป) ในองค์กรรับผิดชอบด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ
การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร
2
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและ/หรือ
การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร
3
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อักษร โดยคณะทำงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กรหรือเป็นหน่วยงานที่มีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กร4
มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขึ้นมารับผิดชอบในการด้านการจัดการพลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นลายลักษณ์อัก
ษร โดยคณะทำงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กรหรือเป็นหน่วยงานที่มีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กรและมีการมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการสนับสนุนด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมแก่ผู้บริหารทุกหน่วยงาน
5
3. Strategic Planมีแผนกลยุทธ์หรือแผนปฏิบัติงานด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่งที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี1
มีแผนกลยุทธ์หรือแผนปฏิบัติงานด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี2
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานหรือด้านสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่งที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะปานกลางไม่เกิน 3 ปี
พร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี
3
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะปานกลางไม่เกิน 3 ปี พร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี4
มีแผนกลยุทธ์ด้านพลังงานและด้านสิ่งแวดล้อมที่แสดงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เหมาะสมกับองค์กรในระยะยาวหรือที่มีความต่อเนื่องมากกว่า 3 ปีพร้อมแผนปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปี5
4. CCR (Corporate Community
Responsibility)
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 50 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 1 กิจกรรมต่อปีด้านสุขภาพ และสุขภาวะ/ ด้านอาชีพ/ด้านการเกษตร/ด้านคุณภาพชีวิต/ด้านการศึกษา ศาสนา/ด้านการพัฒนาชุมชนและองค์กรชุมชน/
ด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมในชุมชน/ ด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน/
ด้านการส่งเสริมพลังงานทดแทน/ด้านการช่วยเหลือชาวชุมชนที่ทุกข์ยากเดือดร้อน
1
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 50 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรมต่อปี2
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรมต่อปี3
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรมต่อปีCSR-DPIM, CSR-DIW (รางวัลด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม) ในช่วงเวลาเกิน 2 ปี4
การดำเนินกิจกรรมที่แสดงความผิดชอบต่อชุมชนภายในรัศมี 10 กิโลเมตรโดยรอบไม่น้อยกว่า 4 กิจกรรมต่อปีISO 26000 (social responsibility)5
5. Allianceสถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่าย (ชมรม สมาคม หรือ อื่น ๆที่มีการรวมกลุ่มกัน) อย่างหนึ่งอย่างใด1
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานหรือ ด้านสิ่งแวดล้อมหรือด้านสังคม2
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานหรือ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคมและ/หรือผู้บริหาร(ระดับผู้จัดการขึ้นไป)ของสถานประกอบการเป็นกรรมการ หรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารของเครือข่าย3
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานหรือ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคมและ/หรือผู้บริหาร(ระดับผู้จัดการขึ้นไป)ของสถานประกอบการเป็นกรรมการหรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารของเครือข่าย
และสถานประกอบการเป็นผู้สนับสนุนหลักของเครือข่าย
4
สถานประกอบการเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานหรือ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านสังคมและ/หรือผู้บริหารสูงสุดของสถานประกอบการเป็นสมาชิกหรือเป็นกรรม
การและสถานประกอบการเป็นผู้สนับสนุนหลักของเครือข่าย
5
2.Energy Performance Issue6. Energy Management systemมีการริเริ่มกระบวนการในการจัดการพลังงานแล้วโดยมีการประกาศนโยบายด้านพลังงานโดยผู้บริหารสูงสุด1
มีกระบวนการในการจัดการพลังงานแล้วโดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ข้อ ดังนี้
1) นโยบายด้านพลังงาน
2) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน
3) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน
2
มีกระบวนการในการจัดการพลังงาน โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 5 ข้อ ดังนี้
1) นโยบายด้านพลังงาน
2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน
3) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน
4) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน
5) การเฝ้าระวังสมรรถนะพลังงานในองค์กร
3
มีกระบวนการในการจัดการพลังงาน โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้
1) นโยบายด้านพลังงาน
2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน
3) การวางแผนและการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านพลังงาน
4) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านการอนุรักษ์พลังงาน
5) การควบคุมการปฏิบัติงานด้านพลังงาน
6) การเฝ้าระวังสมรรถนะพลังงานในองค์กร
7) การตรวจประเมินภายใน
8) การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ได้รับการตรวจรับรองระบบการจัดการพลังงานตามพรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2550) หรือ เทียบเท่า เช่น Prime Minister Award ด้านการจัดการพลังงาน, Thailand Energy
Awards ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมาเป็นต้น
4
ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลระบบการจัดการพลังงาน ISO 500015
7. Building Envelope performanceไม่มีเกณฑ์การประเมินสำหรับโรงไฟฟ้า0
8. Continuous Performance
Improvement
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 0.1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)1
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 0.2% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 0.3% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)3
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 0.4% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน4
สามารถแสดงผลที่วัดได้เชิงปริมาณของสมรรถนะพลังงานที่มีปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 0.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)5
9. Internal Economic Impactsสามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 0.1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)1
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 0.2% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 0.3% เฉลี่ยต่อปีเมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)3
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือ ต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 0.4% เฉลี่ยต่อปีเมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)4
สามารถลดค่าใช้จ่ายพลังงาน หรือต้นทุนพลังงานต่อหน่วยลดลงอย่างน้อย 0.5% เฉลี่ยต่อปี
เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
5
3.Environmental Issue10. Environment Management
System
มีการริเริ่มกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อมแล้วโดยมีการประกาศนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมโดยผู้บริหารสูงสุด1
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อม แล้วโดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ข้อ ดังนี้
1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
2) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม
3) แผนปฏิบัติงานและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม
2
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 5 ข้อ ดังนี้
1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
3) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม
4) แผนปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม
5) การเฝ้าระวังสมรรถนะด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร
3
มีกระบวนการในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบอย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้
1) นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
2) การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
3) การวางแผนและการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม
4) แผนปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม
5) การควบคุมการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม
6) การเฝ้าระวังสมรรถนะสิ่งแวดล้อมในองค์กร
7) การตรวจประเมินภายใน
8) การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
EMS DIW (การรับรองการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกรมโ
รงงานอุตสาหกรรม) ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา
4
ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลด้านการสิ่งแวดล้อม ISO 140015
11. Waste managementมีการดำเนินการบ่งชี้จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กร1
มีการดำเนินการบ่งชี้จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กรและดำเนินการลดปริมาณของเสียลงต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 0.25 % เฉลี่ยต่อปีเมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
มีการดำเนินการบ่งชี้จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กรและดำเนินการลดปริมาณของเสียลงต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 0.5 % เฉลี่ยต่อปีเมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)3
มีการดำเนินการบ่งชี้จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กรและดำเนินการลดปริมาณของเสียลงต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 0.75 % เฉลี่ยต่อปีเมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)4
มีการดำเนินการบ่งชี้จัดเก็บข้อมูลปริมาณของเสียจากการดำเนินการขององค์กรและดำเนินการลดปริมาณของเสียลงต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1 % เฉลี่ยต่อปีเมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)การได้การรับรองเกี่ยวกับการจัดการของเสียจากกระบวนการผลิตในระดับนานาชาติเช่น GRS ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปี ที่ผ่านมา5
12. Fresh Water Managementมีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำและมีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ1
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ
มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรือ
อุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 หรือ
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่า
ปี 0.25% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
2
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ
มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรือ
อุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 หรือ
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่า
ปี 0.5% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
3
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ
มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรือ
อุปกรณ์แบบประหยัดน้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 หรือ
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่า
ปี 0.75% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
4
มีการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำ
มีการสื่อสารและรณรงค์เพื่อลดการใช้น้ำ
มีการติดตั้งใช้งานสุขภัณฑ์และ/หรือ อุปกรณ์ทั้งหมดเป็นแบบประหยัดน้ำหรือ
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำหรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ไม่น้อยกว่า
ปี 1% เฉลี่ยต่อปี เมื่อเทียบกับปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
การได้การรับรอง Water footprint
ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปี ที่ผ่านมา
5
13. GHG Emission Impactสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 0.25 % เฉลี่ยต่อปี
ของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
1
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 0.5 % เฉลี่ยต่อปีของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)2
ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 0.75 % เฉลี่ยต่อปี
ของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน
2 ปีที่ผ่านมา)
ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Footprint for Organization/ Carbon Footprint for
Product/ Carbon Footprint event จากอบก. หรือ
ได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกันจากองค์กรนานาชาติ
3
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG ไม่เกิน 1 % เฉลี่ยต่อปีของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II) ในปีฐาน (ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Offset จาก อบก.หรือได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกันจากองค์กรนานาชาติ4
สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG มากกว่า 1 % เฉลี่ยต่อปีของปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (Scope I, Scope II)
ในปีฐาน(ในช่วงเวลาไม่เกิน 2 ปีที่ผ่านมา)
ได้ขึ้นทะเบียน Carbon Neutral / T-VER จาก อบก.
หรือได้ขึ้นทะเบียนฉลากลักษณะเดียวกันจากองค์กรนานาชาติ
5
4.Innovation14. Process or Product
Innovation (Industry)
ไม่มีเกณฑ์การประเมินสำหรับโรงไฟฟ้า (VSPP)1
15.Energy and Environment
Innovation and Technology
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ Motion sensor, Photo Switch หรือ Timer
ในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์เพียงบางส่วนและเป็นอุปกรณ์ที่ไม่มีนัยสำคัญ
1
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ Motion sensor, Photo Switch หรือ Timer
ในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์หลักที่มีนัยสำคัญ
2
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับปานกลาง ในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น
การติดตั้ง ระบบควบคุมอัตโนมัติในบางกิจกรรมขององค์กรแต่เป็นกิจกรรมที่มีนัยสำคัญและเกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เช่น การติดตั้งระบบ Smart Chiller plant manager
ในการจัดการการใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์ เป็นต้น
3
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับสูง
ในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้ง, SCADA หรือ IOT
สำหรับการควบคุมระบบอัตโนมัติในบางกิจกรรมขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
4
มีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ซับซ้อนระดับสูง
ในการดำเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตั้ง, SCADA หรือ IOT สำหรับการควบคุมระบบอัตโนมัติครอบคลุมทุกกิจกรรมขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
5
16.Role modelมีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวด
ล้อมที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเดียวกันอย่างน้อย 1 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา
1
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกอุตสาหกรรมอย่างน้อย 1 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา2
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเดียวกันอย่างน้อย 2 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา3
มีต้นแบบด้านนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีด้านพลังงานและ/หรือด้านสิ่งแวดล้อมที่สามารถนำไปเผยแพร่หรือนำไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกอุตสาหกรรมกันอย่างน้อยปีละ 2 เรื่องในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา4
เป็นองค์กรต้นแบบให้หน่วยงานภายนอกเข้าเยี่ยมชมสถานประกอบการและมีการนำเสนอนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านพลังงานและ/
หรือด้านสิ่งแวดล้อม
5
5.Circular Economy17. In-Processมีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ใช้ในบางกิจกรรมของกระบวนการบริการหรือด้านการใช้พลังงาน หรือด้านสิ่งแวดล้อมซี่งยังไม่เป็นกระบวนการหลักของการผลิตไฟฟ้า1
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ใช้ในบางกิจกรรมของกระบวนการบริการหรือด้านการใช้พลังงาน หรือด้านสิ่งแวดล้อม) ที่เป็นกระบวนการหลักของของการผลิตไฟฟ้า2
มีมีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 1 ขั้นตอน ที่เป็นกระบวนการหลักของการผลิตไฟฟ้า3
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 2 ขั้นตอนที่เป็นกระบวนการหลักของการผลิตไฟฟ้า4
มีการประยุกต์ใช้นำแนวคิด Circular Economy (Re-design, Re-process, Reuse or Recycle) มาประยุกต์ตั้งแต่ 2 ขั้นตอนที่เป็นกระบวนการหลักของการผลิตไฟฟ้าและมีโครงงานที่เกิดจากกระบวนการ Upcycling เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม5
18. Collaboration and Supply Chainไม่มีเกณฑ์การประเมินสำหรับโรงไฟฟ้า (VSPP)1
6.Green and Renewable Energy19. Green and Renewable
Energy Source
สัดส่วนของการใช้เชื้อเพลิงหมุนเวียนเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 70 ต่อปีของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมด1
สัดส่วนของการใช้เชื้อเพลิงหมุนเวียนเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 80 ต่อปีของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมด2
สัดส่วนของการใช้เชื้อเพลิงหมุนเวียนเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 90 ต่อปีของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมด3
สัดส่วนของการใช้เชื้อเพลิงหมุนเวียนเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 90 ต่อปีของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมด4
สัดส่วนของการใช้เชื้อเพลิงหมุนเวียนเฉลี่ยร้อยละ 100
ต่อปีของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมด
5
20. Green and Renewable
Energy Efficiency
ความสามารถในการใช้พลังงานปฐมภูมิในกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 5 % PES1
ความสามารถในการใช้พลังงานปฐมภูมิในกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 7.5 % PES2
ความสามารถในการใช้พลังงานปฐมภูมิในกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 10% PES3
ความสามารถในการใช้พลังงานปฐมภูมิในกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 12.5% PES4
ความสามารถในการใช้พลังงานปฐมภูมิในกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 15% PES5
7.Sustainability Culture21. Personal Awarenessบุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนไม่เกินร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด1
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมด2
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 30 ของพนักงานทั้งหมด3
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 50 ของพนักงานทั้งหมด4
บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนมากกว่าร้อยละ 80 ของพนักงานทั้งหมด5
22. Corporate Awarenessองค์กรมีการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง1
องค์กรมีการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง2
องค์กรมีการจัดกิจกรรม
และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม หรือความยั่งยืนอย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง
3
องค์กรมีการจัดกิจกรรม
และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านในการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมหรือความยั่งยืนอย่างน้อยทุก 3เดือนและมีการประเมินผลด้านความตระหนักของพนักงานอย่างน้อยปีละ 1
ครั้ง
4
องค์กรมีการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมความตระหนักด้านใน
การอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมหรือความยั่งยืนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
และมีการประเมินผลด้านความตระหนักของพนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
5
23. Green Transportationการจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือจัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมาก
กว่าร้อยละ 10 ของพนักงานทั้งหมดหรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงาน
1
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือจัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือมีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 20 ของพนักงานทั้งหมดหรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงานโดยมีการลดลงของค่าเชิงปริมาณด้านสมรรถนะพลังงานของการขนส่งดังกล่าวไม่น้อยกว่า 1% เมื่อเทียบกับปีฐาน2
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือจัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ
มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 30 ของพนักงานทั้งหมดหรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงานโดยมีการลดลงของค่าเชิงปริมาณด้านสมรรถนะพลังงานของการขนส่งดังกล่าวไม่น้อยกว่า 2% เมื่อเทียบกับปีฐาน
3
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือจัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ
มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมากกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานทั้งหมดหรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงานโดยมีการลดลงของค่าเชิงปริมาณด้านสมรรถนะพลังงานของการขนส่งดังกล่าวไม่น้อยกว่า 3% เมื่อเทียบกับปีฐาน
4
การจัดให้มีรถรับส่งพนักงาน หรือจัดให้มีที่พักของพนักงานในบริเวณใกล้เคียง หรือ
มีพนักงานที่เดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะและใช้รถจักรยานมีจำนวนรวมกันมาก
กว่าร้อยละ 50 ของพนักงานทั้งหมดหรือมีวิธีการ/กระบวนการ/หรือมาตรการในการจัดการด้านการขนส่งสินค้าและวัตถุดิบภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อการประหยัดพลังงานโดยมีการลดลงของค่าเชิงปริมาณด้านสมรรถนะพลังงานของการขนส่งดัง
กล่าวไม่น้อยกว่า 4% เมื่อเทียบกับปีฐาน และมีการติดตั้ง EV Chargerในสถานประกอบการอย่างน้อย 1 เครื่อง
5
24.Green Procurementมีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement
เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตไฟฟ้ารวมกันไม่เกิน 3 รายการ
1
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement
เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตไฟฟ้ารวมกันไม่เกิน 5 รายการ
2
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement
เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตไฟฟ้ารวมกันมากกว่า 8 รายการ และมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานที่ได้รับมาตรฐานรางวัล หรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม
3
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement
เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตไฟฟ้ารวมกันมากกว่า 10 รายการและมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานหรือการบริการที่ได้รับมาตรฐาน รางวัลหรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยมีสัดส่วนของการจัดจ้างดังกล่าวมากกว่าร้อยละ 10และมีนโยบายการจัดซื้อเครื่องจักรที่มีสมรรถนะพลังงานสูงหรือเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
4
มีการกำหนดให้มีการจัดซื้อแบบ Green Procuement
เฉพาะอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานและ/หรือในการผลิตไฟฟ้ารวมกันมากกว่า 10 รายการและมีนโยบายจัดจ้างหน่วยงานหรือการบริการที่ได้รับมาตรฐาน รางวัล
หรือฉลากที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยมีสัดส่วนของการจัดจ้างดังกล่าวมากกว่าร้อยละ 30 และมีนโยบายการจัดซื้อเครื่องจักรที่มีสมรรถนะพลังงานสูงหรือเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
5
25. Health and Safetyมีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมาย1
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานอย่างน้อย 1 โครงการ2
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานอย่างน้อย 1 โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 180 วัน3
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานมากกว่า 1 โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 270 วัน4
มีการจัดการด้านความปลอดภัยและชีวอนามัยเป็นไปตามกฎหมายและมีกิจกรรมส่งเสริมด้านชีวอนามัยและสุขภาพของพนักงานมากกว่า 1 โครงการและสามารถบรรลุเป้าหมายกรณีไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานนานติดต่อกันเกิน 360 วันได้รับการรับรองการจัดการมาตรฐานสากลด้านความปลอดภัยและชีวอนามัย ISO 450015

การกำหนดสัดส่วนของน้ำหนักของ Aspects และ Indicators ที่เกี่ยวข้อง สำหรับอาคาร (Building)

No.AspectsWeightingIndicatorsWeighting
1.Leadership20%1. Commitments and Policy30%
2. Organizing and Business Integration20%
3. Strategic Plan20%
4. CCR
(Corporate Community Responsibility)
15%
5. Alliance15%
2.Energy Performance Issue20%6. Energy Management system40%
7. Building Envelope performance20%
8. Continuous Performance Improvement30%
9. Internal Economic Impacts10%
3.Environmental Issue20%10. Environment Management System40%
11. Waste management20%
12. Fresh Water Management20%
13. GHG Emission Impact20%
4.Innovation8%14. Process or Product Innovation
15.Energy and Environment Innovation and Technology60%
16. Role model40%
5.Circular Economy10%17. In-Process100%
18. Collaboration and Supply Chain
6.Green and Renewable Energy8%19. Green and Renewable Energy Source100%
20. Green and Renewable Energy Efficiency
7.Sustainability Culture14%21. Personal Awareness20%
22. Corporate Awareness20%
23. Green Transportation20%
24. Green Procurement20%
25. Health and Safety20%

การกำหนดน้ำหนักหรือระดับความสำคัญของ Aspects และ Indicators ที่เกี่ยวข้องสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม

No.AspectsWeightingIndicatorsWeighting
1.Leadership20%1. Commitments and Policy30%
2. Organizing and Business Integration20%
3. Strategic Plan20%
4. CCR
(Corporate Community Responsibility)
15%
5. Alliance15%
2.Energy Performance Issue20%6. Energy Management system40%
7. Building Envelope performance
8. Continuous Performance
Improvement
40%
9. Internal Economic Impacts20%
3.Environmental Issue20%10. Environment Management System40%
11. Waste management20%
12. Fresh Water Management20%
13. GHG Emission Impact20%
4.Innovation8%14. Process or Product Innovation40%
15. Energy and Environment Innovation
and Technology
40%
16. Role model20%
5.Circular Economy10%17. In-Process60%
18. Collaboration and Supply Chain40%
6.Green and Renewable Energy8%19. Green and Renewable Energy Source100%
20. Green and Renewable Energy Efficiency
7.Sustainability Culture14%21. Personal Awareness20%
22. Corporate Awareness20%
23. Green Transportation20%
24. Green Procurement20%
25. Health and Safety20%

การกำหนดน้ำหนักหรือระดับความสำคัญของ Aspects และ Indicators ที่เกี่ยวข้องสำหรับ โรงไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP)

No.AspectsWeightingIndicatorsWeighting
1.Leadership20%1. Commitments and Policy30%
2. Organizing and Business Integration20%
3. Strategic Plan20%
4. CCR (Corporate Community Responsibility)15%
5. Alliance15%
2.Energy Performance Issue20%6. Energy Management system40%
7. Building Envelope performance
8. Continuous Performance
Improvement
40%
9. Internal Economic Impacts20%
3.Environmental Issue20%10. Environment Management System40%
11. Waste management20%
12. Fresh Water Management20%
13. GHG Emission Impact20%
4.Innovation8%14. Process or Product Innovation
15. Energy and Environment Innovation
and Technology
60%
16. Role model40%
5.Circular Economy10%17. In-Process100%
18. Collaboration and Supply Chain
6.Green and Renewable Energy8%19. Green and Renewable Energy Source40%
20. Green and Renewable Energy Efficiency60%
7.Sustainability Culture14%21. Personal Awareness20%
22. Corporate Awareness20%
23. Green Transportation20%
24. Green Procurement20%
25. Health and Safety20%